สาขา I-AM vs. สาขา CS (Computer Science)
- เหมือนกัน คือ มุ่งผลิตบุคลากรที่เป็น programmer / developer
- ต่างกัน คือ I-AM เหมาะกับผู้ที่มีพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาบ้างแล้ว ส่วน CS มีวิชาเสริมพื้นฐานให้สำหรับผู้เรียนที่เขียนโปรแกรมไม่เป็นเลย
- ต่างกัน คือ I-AM จะเน้นการเรียนแบบลงมือปฏิบัติจริง (Practical) ประยุกต์ใช้ (Applied) และ เรียนรู้จากปัญหา (Problem-driven)
- ต่างกัน คือ วิชาบังคับใน I-AM เน้นการต่อยอดจากโปรแกรมที่ “ใช้ได้” สู่โปรแกรมที่ “ฉลาด + ตอบโจทย์ผู้ใช้ + เป็นมิตรกับผู้ใช้”
สาขา I-AM เหมาะสำหรับ
- นวัตกร Innovator :: คนที่ชอบติดตามและอัปเดตความรู้ด้านนวัตกรรมอยู่เสมอ
- นักประดิษฐ์ Maker :: คนที่ชอบนำความรู้ต่าง ๆ มาผสมผสานประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่
- นักพัฒนา Developer :: คนที่ชอบเขียนและพัฒนาโปรแกรม
Core values ในการเรียนของสาขา I-AM
- I-AM Artistic :: ศิลปะเทคโนโลยี :: วิชาที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์ศิลปะหรือ Media Art สำหรับ Artist ที่ชอบศิลปะปฏิสัมพันธ์และเทคโนโลยีการแสดงภาพ 2D/2.5D/3D ต่าง ๆ
- I-AM Smart :: ระบบอัจฉริยะ :: วิชาที่เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์และระบบอัจฉริยะต่าง ๆ สำหรับ Tech enthusiast ที่ชอบผสมผสาน ความรู้/อุปกรณ์/เซ็นเซอร์ ที่หลากหลายเพื่อสร้างระบบฉลาด ๆ ตามต้องการ
- I-AM User Centric :: User Experience :: วิชาที่เกี่ยวกับหลักการออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีที่มี User เป็นศูนย์กลางเสมอ สำหรับ Tech maker ที่ชอบแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์แบบ lean startup และ rapid prototype
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- Designers and developers of interdisciplinary, interactive and creative technology production
- Tech-entrepreneur
- Tech-startup
- UI/UX designer
- Game developer
- Multimedia developer
- Instructors, lecturers or researchers
สรุปรายชื่อวิชาเรียนของสาขา I-AM
- รายละเอียดของวิชาเอกและวิชาเลือกของสาขา I-AM สามารถดูได้ที่หน้า รายวิชาสาขา I-AM
- ★ และ ★★ คือ วิชาที่ใช้สำหรับสอบประมวลความรู้ส่วนที่ 1 และ 2 ตามลำดับ
- รายละเอียดตัวเต็มของทั้งหลักสูตร (ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ.2560) สามารถดูได้ ที่นี่
ประเภท | ชื่อวิชา |
---|---|
วิชาเสริมพื้นฐาน | ND 4000: Foundation for Graduate Studies (สำหรับนักศึกษาภาคปกติเท่านั้น) |
LC 400x: English (ยื่นหลักฐานตามเกณฑ์สถาบันเพื่อขอยกเว้นการเรียนได้) | |
CI 4003: Object Oriented Programming and Data Structures (ยื่นหลักฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตรเพื่อขอสอบยกเว้นการเรียนได้) | |
CI 4004: Statistics and Probability (ยื่นหลักฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตรเพื่อขอสอบยกเว้นการเรียนได้) | |
วิชาพื้นฐาน | CI 5001: Strategic Information Technology and EIS Process |
วิชาหลัก | CI 6101: Database Design and Management: Practical Approach |
CI 6102: Data Communications and Computer Networks | |
วิชาเอกของ I-AM | CI 7301: Interactive Intelligent Systems >> ดูรายละเอียดวิชา |
CI 7302: Computer Graphics and Animation ★ >> ดูรายละเอียดวิชา | |
CI 7303: Digital Image Processing and Computer Vision ★ >> ดูรายละเอียดวิชา | |
CI 7503: Software Design and Architecture >> ดูรายละเอียดวิชา | |
วิชาเลือกของ I-AM | CI 7304: Game Development >> ดูรายละเอียดวิชา |
CI 7305: Virtual, Mixed and Augmented Realities >> ดูรายละเอียดวิชา | |
CI 7306: Statistical Graphics and Data Visualization >> ดูรายละเอียดวิชา | |
CI 7307: User Interface and Interaction Design >> ดูรายละเอียดวิชา | |
CI 7308: Multimedia Systems Design >> ดูรายละเอียดวิชา | |
CI 870x: Selected Topics in Computer Science and Information Systems (รหัสพิเศษสำหรับวิชาเลือกอื่น ๆ ที่เปิดเพิ่มเติมจากวิชาที่มีในเล่มหลักสูตร) |
|
วิชาสัมมนา | CI 8001: Seminar in Computer Science and Information Systems |
การค้นคว้าอิสระ | CI 9000: Independent Study |
วิทยานิพนธ์ | CI 9004: Thesis |
ลิงก์กำหนดการการรับสมัครสาขา I-AM
- ปริญญาโทภาคปกติ เรียนวันจันทร์ถึงศุกร์ ในเวลาราชการ
- ปริญญาโทภาคพิเศษ เรียนวันเสาร์อาทิตย์
- ปริญญาโทภาคสมทบเรียนเฉพาะบางวิชา สำหรับทั้งป.โทภาคปกติและป.โทภาคพิเศษ